ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับหลักการ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ผู้วิจัย พเยาว์ พันธนิตย์
ปีการศึกษา 2566
วันที่เผยแพร่ 3 กันยายน 2567
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้ งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการสอนคิด
โดยใช้หลักการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือร่ วมกับหลักการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนคิด
โดยใช้หลักการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือร่ วมกับหลักการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
80/80
3)เพื่อทดลองใช้รูปแบบการสอนการคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับหลักการ
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาความสามารถในการปัญหา เรื่องร้อยละ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 4) เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่
เรียนด้วยรูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับหลักการสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 และ 5)เพื่อประเมินรูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้
แบบร่วมมือร่วมกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
เรื่อง ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้ งนี้ ได้แก่
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 โรงเรี ยนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ สังกัดเทศบาลนคร นครศรีธรรมราชจ านวน 1 ห้องเรียน รวมนักเรียน 36 คนที่ได้โดยการสุ่มอย่างง่าย
(Simple
Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็ นหน่วยสุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1.
ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือร่วมกับหลักการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่นักเรียนต้องการ พบว่า
นักเรียนส่วนใหญ่มีความต้องการใช้
รูปแบบการสอนโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อ
พัฒนาความสามารถการเขียนเพื่อการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
2.
การพัฒนารู ปแบบการสอนที่ผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้ นใช้ชื่อเรี ยกว่า “IPCCAR Model” มีองค์ประกอบของรูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับการสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์
มี 6 ขั้นตอนได้แก่ 1)ขั้นน าสู่ความคิด (I : Introduction) 2)ขั้นดึง ความคิดเดิม (P : Pulling ideas) 3)ขั้นเพิ่มเติมความคิดใหม่
(C
: Change in thinking) 4)ขั้นตรวจสอบ ความคิดใหม่ (C : Check the idea) 5)ขั้นพิชิตน าความคิดไปใช้
(A
: Apply) 6)ขั้นสะท้อนความคิด (R : Review) ผลจากการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ
5 คน ด้านคณิตศาสตร์
ผู้สอนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ต้องการให้พัฒนารูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแก้ปัญหา เรื่ องร้อยละ
ชั้ น ประถมศึกษาปี ที่ 5 ผลการพัฒนารูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับการ
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ค่าประสิทธิภาพ E 1 / E2 แบบรายบุคคล (Individual Tryout) เท่ากับ 78.00/76.66 ค่าประสิทธิภาพ E 1 / E2 แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout) เท่ากับ 79.11/79.72 และค่าประสิทธิภาพ E1 / E2 จากการ ทดลองภาคสนาม
มีค่าเท่ากับ 81.60/83.00 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็ นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก าหนดไว้
3.
ผลการทดลองใช้รูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับการสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5/2 กลุ่มตัวอย่างจ านวน 36 คนได้ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 81.99/83.53 และผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนคิดโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือร่วมกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
เรื่องร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.
ผลการทดลอบความสามารถในแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ
โดยใช้ใบงานเพื่อทดสอบวัด ความสามารถในแก้ปัญหา
เรื่องร้อยละและใช้เกณฑ์ประเมินความสามารถในแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ผลปรากฏว่า
นักเรียนมีความสามารถในแก้ปัญหา เรื่องร้อยละ ในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก